พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต - ภาคใต้

%e0%b8%a0%e0%b8%b2%e0%b8%84%e0%b9%83%e0%b8%95%e0%b9%89-%e0%b9%80%e0%b8%9c%e0%b8%b2%e0%b8%96%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%99

มีแนวคิดอยู่ทั้งหมด 5 อย่าง ได้แก่

  1. เตาถ่าน โดยใช้เศษกิ่งยางพารา ไม้ผล ทำเป็นถ่าน และได้น้ำส้มควันไม้
  2. โครงการแก้มลิง พระองค์ท่านเปรียบเทียบว่า ลิงเมื่อเขากินผลไม้หรือกล้วย เขาจะเก็บตุนไว้ที่แก้ม แล้วค่อยๆเอาออกมากินทีละน้อย เปรียบเหมือนโครงการแก้มลิง เป็นโครงการที่ทำแหล่งน้ำขนาดเล็ก หรือคลองซอยต่างๆ เป็นแหล่งระบายน้ำ และใช้เมื่อเข้าฤดูแล้ง

อ่านเพิ่มเติม

พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต - ภาคอีสาน

%e0%b8%a0%e0%b8%b2%e0%b8%84%e0%b8%ad%e0%b8%b5%e0%b8%aa%e0%b8%b2%e0%b8%99

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน)

แนวคิดของพระเจ้าอยู่หัว เกิดจากภาคอีสานมีพื้นที่ชลประทานน้อยทำให้เกษตรกรมีอุปสรรคในการทำการเกษตร เมื่อเกิดภาวะฝนแล้ง ดังนั้นพระองค์ท่านจึงทรงส่งเสริมอาชีพให้แก่ราษฎรภาคนี้ โดยใช้สื่อเรื่องนี้ คือ ธนาคารข้าว อ่านเพิ่มเติม

พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต - ภาคกลาง

%e0%b8%a0%e0%b8%b2%e0%b8%84%e0%b8%81%e0%b8%a5%e0%b8%b2%e0%b8%87-%e0%b9%80%e0%b8%aa%e0%b9%89%e0%b8%99%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b9%80%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%b7%e0%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b9%81

เส้นทางเครื่องแกง

ภาคกลาง แสดงแนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่

พระบาทสมเด็ดพระเจ้าอยู่หัวทรงมีดำริขึ้นครั้งแรกที่วัดมกคลชัยพัฒนา อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี เกษตรทฤษฎีใหม่เป็นทฤษฎีในการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดินของเกษตรกรเพื่อให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์จากพื้นที่ของตนเองได้คุ้มค่าสูงสุดและที่สำคัญสามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยแบ่งพื้นที่ในแปลงหนึ่งแปลงออกเป็น ๔ ส่วนด้วยกันมีสูตรว่า ๓๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๑๐ ซึ่งแบ่งดังนี้ อ่านเพิ่มเติม

พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต - ภาคเหนือ

%e0%b8%a0%e0%b8%b2%e0%b8%84%e0%b9%80%e0%b8%ab%e0%b8%99%e0%b8%b7%e0%b8%ad-%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%ad%e0%b8%99%e0%b8%b8%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%81%e0%b8%a9%e0%b9%8c%e0%b8%97%e0%b8%a3%e0%b8%b1

ภาคเหนือ แสดงแนวคิดและทฤษฎีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งแสดงแนวคิดไว้ทั้งหมด ๕ แนวคิดด้วยกัน อ่านเพิ่มเติม