งานมหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน

งานมหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน ครั้งที่๑๑

“สานต่อศาสตร์พระราชา สถาปนาปูทะเลย์มหาวิชชาลัย”

วันศุกร์ที่๑๗ – วันอาทิตย์ที่๑๙ มีนาคม ๒๕๖๐

ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้ อง ต.หนองบอนแดง อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี


“ข้าแต่บัณฑิตวาจาอันมีปาฏิหาริย์ มิบังควรหายไปในอากาศ. ท่านต้องให้สาธุชนได้รับพรแห่ง โพธิญาณจากโอษฐ์ของท่าน. ถึงกาลอันสมควร ท่านจงตั้งสถาบันการศึกษาให้ชื่อว่า โพธิยาลัยมหาวิชชาลัย. ในกาลนั้นท่านจึงจะสาเร็จกิจที่แท้…

นางมณีเมขลาให้พระองค์ตั้งสถาบันการศึกษา ให้ชื่อว่าปูทะเลย์มหาวิชชาลัย.

…พระราชาผู้เป็ นบัณฑิต ข้าพระองค์ยังมีศิษย์ที่ดีไว้ใจได้ และจะประดิษฐาน ปูทะเลย์มหาวิชชาลัยได้แน่นอน มิถิลายังไม่สิ้นคนดี

บางตอนจากบทพระราชนิพนธ์ พระมหาชนก ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙


งานมหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน ครั้ งที่ ๑๑ ปี แรกที่จัดงานสืบสานศาสตร์พระราชาและปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง โดยพระผู้เป็นองค์พระราชทานเศรษฐกิจปรัชญาฯ ไม่ทรงมีพระชนม์ชีพ สถิตย์เป็นมิ่งขวัญ ปกเกล้า ปกกระหม่อมฯ เหมือนปีที่ผ่านๆ มา กระนั้ นอาจารย์ยักษ์ก็ยังย้าว่า “พ่อไม่อยู่แต่พ่อจะยังอยู่ตราบเท่าที่เรายัง สืบสานพระราชปณิธาน ตราบเท่าที่เรายังสานต่องาน สืบทอดมรดกทางจิตวิญญาณและนาคาสอนของพระองค์ ท่าน ไปกระจายให้เป็นที่พึ่งพาของผู้คน จนเต็มแผ่นดิน”

ขอเชิญศิษย์องค์ภูมิพลร่วมแสดงพลังให้สมกับที่เอ่ยคา “เรารักในหลวง ” มาเรียนรู้ศาสตร์พระราชาเพื่อ สัมผัสถึงรูปธรรมความรักอันยิ่งใหญ่ที่พระองค์ท่านทรงมอบไว้ให้เป็นมรดกที่จะทาให้ชาติและคนในชาติอยู่รอด ปลอดภัยในกลียุคของโลก

งานมหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน ครั้ งที่ ๑๑ “สานต่อศาสตร์พระราชา สถาปนาปูทะเลย์มหาวิชชาลัย ” ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้ อง ต.หนองบอนแดง อ .บ้านบึง จ .ชลบุรี ระหว่าง วันศุกร์ที่ ๑๗ ถึงวันอาทิตย์ที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๐ (เขตปลอดโฟม กรุณานาถุงผ้ามาจากบ้าน รณรงค์ลดปริมาณถุงพลาสติก)

ศุกร์ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๐

๐๕.๐๐-๐๖.๐๐ น. ทาวัตรเช้า ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมมาบเอื้องเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง

๐๗.๐๐-๐๘.๐๐ น. ร่วมทาบุญตักบาตรพระสงฆ์ ๗๐ รูป

๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. ขบวนอัญเชิญ “พระพลังแผ่นดิน” เข้าสู่พิธีเปิดงาน

๐๙.๐๐-๑๐.๓๐ น. พิธีเปิดงานมหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน ครั้งที่ ๑๑

ปาฐกถาพิเศษ “ทาอย่างไรให้พูดได้เต็มปากว่า ‘เรารักในหลวง’

พิธีมอบรางวัลเพื่อเป็นขวัญและกาลังใจให้แก่ศูนย์สัมมาชีพต้นแบบ

ด้านการเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสภาเกษตรกรแห่งชาติ

๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. เวทีเสวนา “สานต่อศาสตร์พระราชา สถาปนาปูทะเลย์มหาวิชชาลัย”

ดร.วิวัฒน์ ศัลยกาธร (อาจารย์ยักษ์)

ดาเนินรายการโดย ประสาน อิงคะนันท์ / จิรา บุญประสพ

๑๓.๐๐-๑๗.๐๐ น. เรียนรู้ “ฐานพึ่งตน” (ลงทะเบียนออนไลน์)

ฐานฅนรักษ์น้า (การออกแบบพื้นที่เพื่อการจัดการน้าตามหลักภูมิสังคม)

ฐานฅนรักษ์ป่า (ป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง)

ฐานฅนรักษ์แม่ธรณี (ปุ๋ยน้า ปุ๋ยแห้ง)

ฐานขยะทองคา

๑๔.๐๐-๑๖.๐๐ น. เวทีถอดบทเรียน “การจัดการภัยพิบัติด้วยการสานพลังเครือข่าย”

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้นาอาสาสมัครเพื่อการป้องกัน เตือนภัยและฟื้นฟูชุมชน

ในภาวะวิกฤติ

สนับสนุนโดย สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

๑๗.๐๐-๑๘.๐๐ น. เวที HED Talk “เฮ็ดจั่งซี่สิลูกหลานเอ้ย” สนทนาประสาเด็ก (รอบเยาวชนไทย)

ลุงดาบกับหลานแตง

๑๙.๓๐-๒๑.๐๐ น. พิธีแสดงมุทิตาจิต ศิษย์บูชาครู ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมมาบเอื้องฯ

๒๑.๐๐-๒๓.๐๐ น. ฉายหนังกลางแปลง (นา) โดย สุนทรียกสิกรรมธรรมชาติ

เสาร์ ๑๘ มีนาคม ๒๕๖๐

ธรรมธุรกิจชวนปั่น (กรุงเทพฯ-ชลบุรี)

๐๖.๐๐ น. ธรรมธุรกิจ ชวนปั่น “พิสูจน์ใจ ไปด้วยกัน” บนเส้นทางที่ไม่ธรรมดา

“๑๐๙ กิโลเมตร” จากพิคคาเดลี่ แบงคอก สู่ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

๐๕.๐๐-๐๖.๐๐ น. ทาวัตรเช้า ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมมาบเอื้องเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง

๐๗.๐๐-๐๘.๐๐ น. ร่วมทาบุญตักบาตรพระสงฆ์

๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. เวทีเสวนาร่วมกับสภาเกษตรกรแห่งชาติ

“ไทยแลนด์ ๔.๐ เกษตรกรรม ๐.๔ สิเฮ็ดจั๋งได๋”

วิฑูรย์ เลี่ยนจารูญ มูลนิธิชีววิถี (รอยืนยัน)

โจน จันใด สวนพันพรรณ จ.เชียงใหม่

สมศักดิ์ เครือวัลย์ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติสองสลึง จ.ระยอง

ดาเนินรายการโดย อ.ธีระ วงศ์เจริญ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติโป่งแรด จ.จันทบุรี

๑๐.๐๐-๑๖.๐๐ น. เรียนรู้ “ฐานพึ่งตน” (ลงทะเบียนออนไลน์)

ฐานปฏิบัติการ “โคกหนองนา โมเดล”

ฐานปฏิบัติการ คันนาทองคา เยาวชนภูฎาน และแม่กุล ชุมชนต้นน้าน่าน

ฐานฅนรักษ์แม่โพสพ (ทานาหน้าแล้ง) เครือข่ายสุรินทร์

ฐานฅนติดดิน (บ้านดิน) อ.โจน จันใด สวนพันพรรณ จ.เชียงใหม่

ฐานฅนรักษ์เมล็ดพันธุ์ อ.โจน จันใด สวนพันพรรณ จ.เชียงใหม่

๑๖.๐๐-๑๗.๓๐ น. เวทีเสวนา “จากมาตรฐานปลูกให้ลูกกิน สู่มาตรฐานไทย”

สัณหจุฑา จิราธิวัฒน์ Earthsafe Foundation และเครือข่ายมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย

อนันตโชค ศักดิ์สวัสดิ์ เลขาธิการสมาคมเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม

We organic PGS

ธีระ วงศ์เจริญ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติโป่งแรด จ.จันทบุรี

๑๙.๓๐-๒๑.๐๐ น. สนทนาประสาครู-ศิษย์

ครูยักษ์ (วิวัฒน์ ศัลยกาธร) ครูใหญ่แห่งกสิกรรมธรรมชาติ สถาบันเศรษฐกิจพอเพียง

ครูเดชา (เดชา ศิริภัทร) มูลนิธิข้าวขวัญ จ.สุพรรณบุรี

ครูโจน (โจน จันใด) สวนพันพรรณ จ.เชียงใหม่

ครูประมวล (ประมวล เพ็งจันทร์) เดินสู่อิสรภาพ

ครูลุงผู้ใหญ่ (สมศักดิ์ เครือวัลย์) ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ สองสลึง จ.ระยอง

ศิษย์ ชวนคุยโดย ต่อ ฟี โนมีนา / ตู่พอดี ครีเอทีฟ

อาทิตย์ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๐

๐๕.๐๐-๐๖.๐๐ น. ทาวัตรเช้า (ศูนย์ปฏิบัติธรรมมาบเอื้ องฯ)

๐๗.๐๐-๐๘.๐๐ น. ร่วมทาบุญตักบาตรพระสงฆ์

๐๘.๐๐-๐๙.๐๐ น. สัญญาบุญ แทนคุณแผ่นดิน

โดยโรงเรียนนอกกะลา บ้านลุงสอนหลาน

มะโหนก บรรเจิด อุดมสมุทรหิรัญ และเครือข่ายสัญญาบุญ แทนคุณแผ่นดิน

๐๙.๐๐-๑๐.๓๐ น. เวทีเสวนา “โคกหนองนา ดาราโมเดล”

๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. เวทีเสวนา “Young Smart Farmer” เยาวชนคนรุ่นใหม่

พิเชฐ โตนิติวงศ์ ธรรมธุรกิจ ธุรกิจคนรุ่นใหม่

เครือข่าย Young Smart Farmer

เครือข่าย เกษตรกรรุ่นใหม่ จากมูลนิธิรักษ์ดิน รักษ์น้า

๑๒.๐๐-๑๒.๓๐ น. …แม้พ่อไม่อยู่แต่งานของพ่อยังอยู่…ร่วมแสดงพลัง

“สืบสานงานของพ่อ สานต่อศาสตร์พระราชา”

๑๐.๐๐-๑๔.๐๐ น. เรียนรู้“ฐานพึ่งตน” (ลงทะเบียนออนไลน์)

ฐานฅนเอาถ่าน

ฐานฅนมีไฟ (ไบโอดีเซล ไบโอแก๊ส)

ฐานฅนมีน้ายา (สบู่ แชมพู น้ายาล้างจาน)

๑๖.๐๐-๑๗.๓๐ น. เวทีเสวนา “Youth Spirit in SEP to SDGs”

จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวแทนจาก APYE Thailand (ASEAN Pacific Youth Exchange)

Sonam Lhundup ตัวแทนจากเยาวชนภูฏาน

Choki Dorji ตัวแทนจากเยาวชนภูฏาน

๑๗.๐๐-๑๘.๐๐ น. เวที HED Talk “เฮ็ดจั่งซี่สิลูกหลานเอ้ย” สนทนาประสาเด็ก (รอบนานาชาติ)

ปู่ยักษ์กับหลานโช

๑๙.๓๐-๒๑.๐๐ น. มหกรรมอาหารและการปรุงนานาชาติ


นิทรรศการมีชีวิต พบปะพูดคุยกับตัวตนคนทาจริงถ่ายทอดวิธีคิด วิธีทาจากประสบการณ์จริง

โซน A เปิ ดค่ายรับมือ ภัยพิบัติธรรมชาติ : จากคา เตือนใน ส .ค.ส. พระราชทานปี ๒๕๔๗ สู่การ ฝึกอบรม Crisis Management and Survival Camp (CMS) หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพผู้นาอาสาสมัคร เพื่อการ ป้ องกัน เตือนภัยและฟื้นฟูชุมชนในภาวะวิกฤติ กับภารกิจ “สู้อยู่หนี” ของเครือข่ายอาสาสมัครภาคประชาชน เปิด เวทีพูดคุย การจัดการภัยพิบัติด้วยการสานพลังเครือข่าย ปฏิบัติการสร้างคลังเสบียงอาหารและยา

โซน B ความมั่นคงด้านการจัดการน้า : จากศาสตร์ด้านการจัดการน้า ของพระราชา

- การออกแบบการจัดการน้าตามหลักภูมิสังคม แก้ไขปัญหาเขาหัวโล้นบนที่สูง (เปลี่ยนเขาหัวโล้นเป็นเขาหัวจุก)

- การจัดการน้าตามหลักทฤษฎีใหม่สาหรับเกษตรกรที่มีที่ดินจานวนน้อย (โคกหนองนา โมเดล)

โซน C ความมั่นคงทางอาหาร : จากศาสตร์ด้านการฟื้นฟูดิน น้า ป่าของพระราชา เครือข่าย กสิกรร มธรรมชาติ พิสูจน์คาสอนพ่อด้วยภารกิจ “คืนชีวิตให้แผ่นดิน ” กระจายอยู่ทั่ วประเทศ พร้อมถ่ายทอด ประสบการณ์จากการลงมือทา ตลอดงานแวะเยี่ยมเยียน เรียนรู้

- โรงเรียนชาวสวน อ.ธีระ วงศ์เจริญ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติโป่งแรด จ.จันทบุรี

- ศาสตร์พระราชา อ.ปัญญา ปุลิเวคินทร์ ศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติ จ.นครนายก

- เปิดหลักสูตร ฅนรักษ์แม่ธรณี นมหมัก-ขี้วัวหมัก จากศู นย์กสิกรรมธรรมชาติฟาร์มโคนมไทย-เดนมาร์ค จ.สระบุรี

- การจัดการน้าระดับลุ่มน้า“ป่าสักโมเดล”

  • เครือข่ายคนต้นน้าเพชบุระตามรอยพ่อของแผ่นดิน
  • เครือข่ายลพบุรีตามรอยพ่อ
  • เครือข่ายคนกลางน้าตามรอยพ่อ (สระบุรี)

 

โซน D ความมั่นคงทางพลังงาน : จากศาสตร์ด้านพลังงานทดแทน พลังงานที่ยั่งยืน

- ฐานฅนเอาถ่าน ไบโอแก๊ส โซลาร์เซลล์ พลังงานหมุนเวียน

- พลังงานโซลาร์เซลล์จากโรงเรียนบ้านโป่งเกตุ โรงเรียนบ้านโป่งไทร เครือข่ายลุ่มน้าป่าสัก

 

โซน E ส่งต่อความรู้จากรุ่นสู่รุ่น : เยาวชน คนรุ่นใหม่ หัวใจกสิกรรรม

- ครอบครัว Earthsafe มูลนิธิรักษ์ดิน รักษ์น้า มาตรฐานเกษตรอินทรีย์วิถีไทย

- สมาคมเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม We organic PGS

- เครือข่าย Young Smart Farmer

- เครือข่ายธรรมธุรกิจเปิด “ถนนคนกิน” ตลาดนัดธรรมชาติ

- การกลับมาของ ชุมพรคาบาน่า ในชื่อใหม่เก๋ไก๋ “ชุมพรบาวาร่า”

- เครือข่าย “อยู่ดี ไม่ว่าดี” ศิษย์ อ.ปัญญา ปุลิเวคินทร์ ศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติ

- การท่องเที่ยวตามศาสตร์พระราชา เครือข่ายลุ่มน้าบางปะกง

- MAYdAY! “เสียงจากป่า”

 

โซน F การปฏิรูปการศึกษาตามศาสตร์พระราชา ด้วย “บ้าน วัด โรงเรียน-บวร”

- สถานบ่มเพาะเบ็ดเสร็จ “ปูทะเลย์มหาวิชชาลัย” รูปธรรมการปฏิรูปการศึกษาจากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน การพัฒนามนุษย์ตลอดชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

- ศูนย์ปฏิบัติธรรมมาบเอื้อง การพัฒนาจิตวิญญาณ เป็นพื้นฐานของการพัฒนามนุษย์และเครือข่ายโรงเรียนวิถีพุทธ

- “Youth Spirit in SEP to SDGs” จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ เวทีเยาวชนนานาชาติจากเยาวชนภูฎานสู่เพื่อนเครือข่ายเอเชียแปซิฟิก APYE (Asia Pacific Youth Exchange) ๑๔ ประเทศ


ร่วมด้วยเครือข่ายภาคเอกชน ที่เชื่อมั่นว่า Our Loss is Our Gain (รอรายนามเพิ่มเติม)

- บริษัท น้าตาลขอนแก่น จากัด (มหาชน)

- ริเวอร์กรุ๊ป

- บริษัท คิงฟิชเชอร์ โฮลด์ดิ้ง จากัด

- สมาคมเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม We organic PGS

- มูลนิธิรักษ์ดิน รักษ์น้า (Earthsafe Foundation)

- มูลนิธิข้าวขวัญ จ.สุพรรณบุรี

- สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)


กิจกรรมห้ามพลาด “เรียนกับเซียน”

เรียนเคล็ดวิชาจากเซียนตัวจริง (ลงทะเบียนก่อนงานทางอินเตอร์เน็ตที่ FB มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ) วันศุกร์ที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๐
เวลา วิชา ครูผู้สอน สถานที่
๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ น. ฐานฅนรักษ์น้า (การออกแบบพื้นที่เพื่อการจัดการน้าตามหลักภูมิสังคม) ผศ.พิเชฐ โสวิทยสกุล (อ.โก้)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.)

เวทีใหญ่
๑๔.๐๐-๑๕.๐๐ น. ฐานฅนรักษ์ป่า (ป่า ๓ อย่างประโยชน์ ๔ อย่าง) พระวีรยุทธ์ อภิวีโร (ครูบาจ็อก)

วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม จ.เชียงใหม่

ลานธรรม (ภาคเหนือ)
๑๕.๐๐-๑๖.๐๐ น. ฐานฅนรักษ์แม่ธรณี (ปุ๋ยน้า ปุ๋ยแห้ง) ผญ.สมศักดิ์ เครือวัลย์

ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติสองสลึง จ.ระยอง

อ.ธีระ วงศ์เจริญ

ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติโป่งแรด จ.จันทบุรี

อาคารข้างลานก้ามปู
๑๖.๐๐-๑๗.๐๐ น. ฐานขยะทองคา

ฐานฅนรักษ์สุขภาพ

ฐานแปรรูป

(น้ามันมะพร้าวสกัดเย็น)

พี่ไข่ (นิมิต บุตรพระพาย)

ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง จ.ชลบุรี

หมอเพ็ญ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

แม่นา (วรรณา ธรรมณี)

ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติประจวบคีรีขันธ์

หน้าโรงอาหาร

ดาวน์โหลดเอกสารได้ตาม link ด้านล่างนี้

เอกสารงานมหกรรมฯ_11_21.02.60 (เวลา 18.30 น.)